การคัดเลือกผลงานทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practices : BP) ด้านการจัดการเรียนรวม
สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จะดำเนินงานเพื่อคัดเลือกผลงานทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practices : BP) ด้านการจัดการเรียนรวม และประชุมนำเสนอผลงานทางวิชาการ (Symposium) ในระดับประเทศ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 โดยคัดเลือกผลงานระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับจังหวัด ระดับเครือข่ายส่งเสริมส่งเสริมประสิทธิภาพ และระดับประเทศ โดยมีรายละเอียดการดำเนินงาน ดังนี้
ประเภทผลงานทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practices : BP)
จำนวน 6 ด้าน จำนวน 11 รางวัล
- ด้านที่ 1 ด้านกระบวนการบริหารจัดการเรียนรวม มี 2 รางวัล
– ผู้อำนวยการ/รองผู้อำนวยการโรงเรียนที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพป. (1 รางวัล)
– ผู้อำนวยการ/รองผู้อำนวยการโรงเรียนที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพม. + ผู้อำนวยการ/รองผู้อำนวยการโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ (1 รางวัล) - ด้านที่ 2 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนพิการเรียนรวม มี 2 รางวัล
– ครูโรงเรียนที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพป.+ ครูโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ (1 รางวัล)
– ครูโรงเรียนที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพม.+ ครูโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ (1 รางวัล) - ด้านที่ 3 ด้านสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนพิการเรียนรวม มี 2 รางวัล
– ครูโรงเรียนที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพป.+ ครูโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ (1 รางวัล)
– ครูโรงเรียนที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพม.+ ครูโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ (1 รางวัล) - ด้านที่ 4 ด้านการวิจัยและพัฒนาการจัดการศึกษาเรียนรวม มี 3 รางวัล
– ครูโรงเรียนที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพป.+ ครูโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ (1 รางวัล)
– ครูโรงเรียนที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพม.+ ครูโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ (1 รางวัล)
– ศึกษานิเทศก์ สังกัด สพป.+ สพม. (1 รางวัล) - ด้านที่ 5 ด้านการนิเทศการจัดการศึกษาเรียนรวม มี 1 รางวัล
– ศึกษานิเทศก์ สังกัด สพป.+ สพม. (1 รางวัล) - ด้านที่ 6 ด้านการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรวม มี 1 รางวัล
– ผู้อำนวยการ/รองผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ (1 รางวัล)
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
- 1) แจ้งผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนที่มีผลงาน ส่งผลงานเพื่อเข้ารับการคัดเลือก
- 2) สพป.และ สพม. ดำเนินการคัดเลือก BPในแต่ละเขต จำนวน 5 ด้านตามหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกที่กำหนดให้เหลือด้านละ 1 อันดับดังนี้
ด้านที่ 1 ด้านกระบวนการบริหารจัดการเรียนรวม (2 รางวัล)
– ผอ./รอง ผอ. ร.ร. ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพป.(1 รางวัล)
– ผอ./รอง ผอ. ร.ร. ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพม. 78 แห่ง (76 จว.+ กทม.2 แห่ง) (1 รางวัล)
ด้านที่ 2 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนพิการเรียนรวม (2 รางวัล)
– ครู ร.ร. ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพป. 183 แห่ง (1 รางวัล)
– ครู ร.ร. ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพม. 78 แห่ง (76 จว.+ กทม.2 แห่ง) (1 รางวัล)
ด้านที่ 3 ด้านสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนพิการเรียนรวม (2 รางวัล)
– ครู ร.ร. ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพป. 183 แห่ง (1 รางวัล)
– ครู ร.ร. ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพม. 78 แห่ง (76 จว.+ กทม.2 แห่ง)(1 รางวัล)
ด้านที่ 4 ด้านการวิจัยและพัฒนาการจัดการศึกษาเรียนรวม (3 รางวัล)
– ครู ร.ร. ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพป. 183 แห่ง (1 รางวัล)
– ครู ร.ร. ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพม. 78 แห่ง (76 จว.+ กทม.2 แห่ง) (1 รางวัล)
– ศึกษานิเทศก์ สพป. และ สพม.(1 รางวัล)
ด้านที่ 5 ด้านการนิเทศการจัดการศึกษาเรียนรวม (1 รางวัล)
– ศึกษานิเทศก์ สพป. และ สพม.(1 รางวัล) - 3) สพป. และ สพม. ส่งผลการคัดเลือกในข้อ 2) ทั้ง 5 ด้าน ให้ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดเพื่อดำเนินการคัดเลือกในระดับจังหวัดต่อไป
- 4) โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษให้ส่งผลงานเพื่อเข้ารับการคัดเลือก BP ด้านที่ 1-4 ตามข้อ 2) โดยตรง
ไปยังศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัด ภายในวันที่ 4 กรกฎาคม 2559 เพื่อดำเนินการคัดเลือกตามเกณฑ์ที่ สพฐ.กำหนดในระดับจังหวัดต่อไป (บุคคลที่มีสิทธิขอรับการคัดเลือกในแต่ละด้าน ดังแนบ)
ระดับจังหวัด
- 1) แต่งตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัดเพื่อคัดเลือก BP ตามหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกในแต่ละด้าน โดยมีศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดนั้นๆ เป็นเจ้าภาพหลักในการดำเนินงาน
- 2) กำหนดวัน เวลา คัดเลือกและแจ้งBPที่สพป. สพม.และร.ร.ศส.ให้มารับการคัดเลือก จำนวน 5 ด้านดังนี้
ด้านที่ 1 ด้านกระบวนการบริหารจัดการเรียนรวม (2รางวัล)
– ผอ./รอง ผอ. ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพป. (1 รางวัล)
– ผอ./รอง ผอ. ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพม.+ ร.ร.ศึกษาสงเคราะห์ (1 รางวัล)
ด้านที่ 2 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนพิการเรียนรวม(2 รางวัล)
– ครู ร.ร. ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพป. (1 รางวัล)
– ครู ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพม.+ ร.ร.ศึกษาสงเคราะห์ (1 รางวัล)
ด้านที่ 3 ด้านสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนพิการเรียนรวม (2 รางวัล)
– ครู ร.ร. ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพป. (1 รางวัล)
– ครู ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพม.+ ร.ร.ศึกษาสงเคราะห์ (1 รางวัล)
ด้านที่ 4 ด้านการวิจัยและพัฒนาการจัดการศึกษาเรียนรวม (3รางวัล)
– ครู ร.ร. ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพป. (1 รางวัล)
– ครู ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สังกัด สพม.+ ร.ร.ศึกษาสงเคราะห์ (1 รางวัล)
– ศึกษานิเทศก์ สพป. และ สพม.(1 รางวัล)
ด้านที่ 5 ด้านการนิเทศการจัดการศึกษาเรียนรวม (1 รางวัล)
– ศึกษานิเทศก์ สพป. และ สพม. คัดเลือกรวมกัน(1 รางวัล) - 3) คณะกรรมการฯ คัดเลือกผลงานในข้อ 2) ให้เหลือจำนวน 770 ผลงาน
– ระดับ สพป. (77 จว.) 4 ด้านๆ ละ 1 อันดับ= 308 ผลงาน
– ระดับสพม. (77 จว.) 4 ด้านๆ ละ 1 อันดับ= 308 ผลงาน
– ระดับสพป.+สพม. ของศึกษานิเทศก์ (77 จว.) 2 ด้าน ๆ ละ 1 อันดับ= 154 ผลงาน - 4) ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดนั้นๆ ส่งผลการคัดเลือกในข้อ 3) และส่งผลงานของ ผอ./รอง ผอ.ศูนย์การศึกษาพิเศษที่สมัครเข้ารับการคัดเลือก ด้านที่ 6 การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรวม
ให้ประธานเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ศูนย์การศึกษาพิเศษของศูนย์ฯนั้นๆ และแจ้งผลการคัดเลือกให้ผู้ผ่านการคัดเลือกทราบเพื่อเตรียมเข้ารับการคัดเลือกในระดับเครือข่ายฯพร้อมจัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินงานส่ง สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สพฐ. ทราบต่อไป
ระดับเครือข่ายส่งเสริมส่งเสริมประสิทธิภาพ
การจัดการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ (12 เครือข่าย)
- 1) แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อคัดเลือก BP ในระดับ เครือข่ายฯ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกในแต่ละด้านโดยมีเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษเป็นเจ้าของเรื่อง
- 2) กำหนดวัน เวลา คัดเลือกและแจ้งเจ้าของผลงาน BP ที่ผ่านการคัดเลือกในระดับจังหวัดจำนวน 6 ด้าน เข้ารับการคัดเลือก ดังนี้
ด้านที่ 1 ด้านกระบวนการบริหารจัดการเรียนรวม (2 รางวัล)
– ผอ./รอง ผอ. ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สพป. (1 รางวัล)
– ผอ./รอง ผอ. ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สพม. (1 รางวัล)
ด้านที่ 2 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนพิการเรียนรวม (2 รางวัล)
– ครู ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สพป. (1 รางวัล)
– ครู ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สพม. (1 รางวัล)
ด้านที่ 3 ด้านสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนพิการเรียนรวม (2 รางวัล)
– ครู ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สพป. (1 รางวัล)
– ครู ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สพม. (1 รางวัล)
ด้านที่ 4 ด้านการวิจัยและพัฒนาการจัดการศึกษาเรียนรวม (3 รางวัล)
– ครู ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สพป. (1 รางวัล)
– ครู ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สพม. (1 รางวัล)
– ศึกษานิเทศก์ สพป.และ สพม. (1 รางวัล)
ด้านที่ 5 ด้านการนิเทศการจัดการศึกษาเรียนรวม (1 รางวัล)
– ศึกษานิเทศก์ สพป.และสพม.
ด้านที่ 6 ด้านการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรวม (1 รางวัล)
– ผอ./รอง ผอ.ศูนย์การศึกษาพิเศษ - 3) คณะกรรมการคัดเลือกผลงานในระดับเครือข่าย 6 ด้าน11 รางวัลๆ ละ 3 อันดับ (อันดับที่ 1-3)
- 4) เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพฯ (12 เครือข่าย) แจ้งเจ้าของผลงานที่ได้อันดับที่ 1 ทุกด้านในแต่ละรางวัล เตรียมนำเสนอผลงานเพื่อเข้ารับการคัดเลือกในระดับประเทศ พร้อมทั้งแจ้งให้เจ้าของผลงานที่ได้รับคัดเลือกอันดับที่ 1-3 ในทุกด้านในแต่ละรางวัลร่วมจัดนิทรรศการในระดับประเทศด้วย
- 5) สรุปผลการคัดเลือก จัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินงานส่งให้สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สพฐ. ทราบต่อไป
ระดับประเทศ
- 1) วางแผนดำเนินงานจัดประชุมนำเสนอผลงานทางวิชาการ (Symposium) ระดับประเทศ
- 2)แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานจัดประชุมฯ คณะกรรมการประกอบด้วย สพป./สพม./ศูนย์การศึกษาพิเศษ/ร.ร.ศึกษาสงเคราะห์ ทุกแห่ง /ผู้ทรงคุณวุฒิ โดยมีศูนย์การศึกษาพิเศษที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นเจ้าภาพหลักในระดับประเทศเป็นผู้รับผิดชอบดำเนินงาน
- 3) แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกผลงานทางวิชาการในระดับประเทศตามหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกในแต่ละด้าน
- 4) กำหนดวัน เวลา/สถานที่ จัดประชุมฯ ระดับประเทศ
- 5) คณะกรรมการคัดเลือกผลงานที่เป็น Best Practicesตามหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกในระดับประเทศ โดยคัดเลือกผลงานจาก 12 เครือข่ายใน 6 ด้านที่ได้อันดับที่ 1 ในแต่ละรางวัล จำนวน 132 ผลงาน ดังนี้
ด้านที่ 1 ด้านกระบวนการบริหารจัดการเรียนรวม (2 รางวัล)
– ผอ./รอง ผอ. ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สพป. (12 ผลงาน)
– ผอ./รอง ผอ. ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สพม. (12 ผลงาน)
ด้านที่ 2 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนพิการเรียนรวม (2 รางวัล)
– ครู ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สพป. (12 ผลงาน)
– ครู ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สพม. (12 ผลงาน)
ด้านที่ 3 ด้านสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนพิการเรียนรวม (2 รางวัล)
– ครู ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สพป. (12 ผลงาน)
– ครู ร.ร.ที่จัดการเรียนรวม สพม. (12 ผลงาน)
ด้านที่ 4 ด้านการวิจัยและพัฒนาการจัดการศึกษาเรียนรวม (3 รางวัล)
– ครู ร.ร. ที่จัดการเรียนรวม สพป. (12 ผลงาน)
– ครู ร.ร. ที่จัดการเรียนรวม สพม. (12 ผลงาน)
– ศึกษานิเทศก์ สพป.และ สพม. (12 ผลงาน)
ด้านที่ 5 ด้านการนิเทศการจัดการศึกษาเรียนรวม (1 รางวัล)
– ศึกษานิเทศก์ สพป.และ สพม. (12 ผลงาน)
ด้านที่ 6 ด้านการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรวม (1 รางวัล)
– ผอ./รอง ผอ.ศูนย์การศึกษาพิเศษ (12 ผลงาน) (เพื่อคัดเลือกให้ได้อันดับที่ 1 ของแต่ละด้าน/รางวัลในระดับประเทศ เป็น Best of the Best 11 ผลงาน) - 6) เจ้าของผลงานที่ได้รับคัดเลือกจาก 12 เครือข่ายทั้ง 6 ด้าน/11 รางวัล (อันดับที่ 1-3 ร่วมจัดนิทรรศการ)
- 7) เจ้าภาพหลักสรุปผลการคัดเลือก Best Practicesในระดับประเทศ แจ้งผลการคัดเลือกให้ เจ้าของผลงานทราบ
- 8) เจ้าภาพหลักจัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินงานส่งให้สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษทราบ เพื่อสรุปผลนำเสนอ สพฐ. ทราบต่อไป
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
- เอกสารประกอบการคัดเลือกผลงานทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice :BP)
- แผนการดำเนินงานเพื่อคัดเลือกผลงานทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ(Best Practices : BP)และประชุมนำเสนอผลงานทางวิชาการ (Symposium)ในระดับประเทศ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
- ประเภทผลงานทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practices : BP) จำนวน 6 ด้าน 11 รางวัล
- การคัดเลือกผลงานทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practices : BP) ด้านกระบวนการบริหารจัดการเรียนรวมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สำหรับ ผู้อำนวยการ/รองผู้อำนวยการสถานศึกษา)
- การคัดเลือกผลงานทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practices : BP) ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนพิการเรียนรวมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สำหรับครู)
- การคัดเลือกผลงานทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practices : BP)ด้านสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนพิการเรียนรวม สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สำหรับครู)
- การคัดเลือกผลงานทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practices : BP) ด้านการวิจัยและพัฒนาการจัดการศึกษาเรียนรวม สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สำหรับครู)
- จำนวนผลงานทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practices) ที่เข้ารับการคัดเลือก
- การศึกษาพิเศษ
- ผลการประกวดแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ ๖๔ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๖ วันที่ ๑๑-๑๓ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ จังหวัดสกลนคร
- เกียรติบัตรนักเรียนและครูผู้ฝึกสอนรางวัลระดับเหรียญเงิน กิจกรรม การแข่งขันเล่านิทาน ประเภทนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ระดับชั้น ป.๑-ป.๖
- เกียรติบัตรนักเรียนและครูผู้ฝึกสอน รางวัลระดับเหรียญทอง ชนะเลิศ กิจกรรม การประกวดมารยาทงามอย่างไทย ประเภทนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ระดับชั้น ป.๑-ป.๖
- โรงเรียน บ้านดอนแดงเจริญทอง เกียรติ บัตรรางวัลระดับเหรียญทองแดง กิจกรรม การประกวดมารยาทงามอย่างไทย ประเภทนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ระดับชั้น ป.๑-ป.๖
- ผลการประกวดแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ ๖๓ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๖ วันที่ ๑๑-๑๓ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ จังหวัดนครพนม และ จังหวัดมุกดาหาร
- เกียรติ บัตรนักเรียนและครูผู้ฝึกสอน รางวัลระดับเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ ๒ กิจกรรม การแข่งขันการร้อยมาลัยดอกไม้สด ประเภทนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ระดับชั้น ไม่กำหนดช่วงชั้น
- เกียรติบัตรนักเรียนและครูผู้ฝึกสอน รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรม การแข่งขันการการประดิษฐ์งของเล่นจากเศษวัสดุเหลือใช้ ประเภทนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ระดับชั้น ไม่กำหนดช่วงชั้น
- เกียรติบัตรนักเรียนและครูผู้ฝึกสอน รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรม การประกวดการขับร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ประเภทนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ระดับชั้น ไม่กำหนดช่วงชั้น
- เกียรติ บัตรนักเรียนและครูผู้ฝึกสอน รางวัลระดับเหรียญเงิน กิจกรรม การแข่งขันการจัดสวนถาดแบบชื้น ประเภทนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ระดับชั้น ไม่กำหนดช่วงชั้น
- โรงเรียนบ้านกุรุคุ เกียรติบัตรนักเรียนและครูผู้ฝึกสอน รางวัลระดับเหรียญทอง การแข่งขันโครงงานอาชีพ ระดับชั้น ม.๑-ม.๓
- โรงเรียนบ้านกุรุคุ เกียรติบัตรนักเรียนและครูผู้ฝึกสอน รางวัลระดับเหรียญทอง การแข่งขันจัดสวนถาดชื้น ระดับชั้น ม.๑-ม.๓
- โรงเรียนบ้านกุรุคุ เกียรติบัตรนักเรียนและครูผู้ฝึกสอน รางวัลระดับเหรียญทอง การจัดสวนถาดแห้ง นักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
- ผล
- เกี
Link ที่เกี่ยวข้อง
- การอบรมหลักสูตร “ผู้ดำเนินการคัดกรองคนพิการทางการศึกษา” สพป.นครพนม เขต ๑ วันที่ ๓-๔ มิถนายน ๒๕๕๙
- การประชุมปฏิบัติการการจัดกิจกรรมยุวบรรณารักษ์ เพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่านตามโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ วันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๘
- การประชุมปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรแกนนำการจัดการเรียนรู้ด้านการรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) วันที่ ๑๑-๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘